เป้าหมายของเว็ปไซต์นี้คือจัดเตรียมบทเทศนาที่เขียนจากต้นฉบับ และในรูปแบบวีดีโอให้กับผู้รับใช้ และมิชชั่นนารีที่ไปรับใช้ในต่างประเทศ โดยเฉพาะประเทศในโลกที่สามที่ขาดแคลนพระคริสตธรรมหรือโรงเรียนอบรมพระคัมภีร์
ต้นฉบับของบทเทศนาเหล่านี้ถูกอ่านในคอมพิวเตอร์ประมาณ 1,500,000 เครื่อง และมากกว่า 221 ประเทศในแต่ละปี โปรดไปอ่านได้ที www.sermonsfortheworld.com ในขณะเดียวกันมีหลายร้อยคนดูวิดีโอบน YouTube และหลังจากนั้นคนเหล่านั้นก็จะย้ายจากดู YouTube มาอ่านเว็บไซต์ของเรา YouTube นำคนมาที่เว็บไซต์ของเรา บทเทศนาต้นฉบับนี้ถูกแปลออกเป็น 46 ภาษา และมีคนอ่านในคอมพิวเตอร์มากถึง 120,000 ทุก ๆ เดือน บทเทศนาต้นฉบับนี้ไม่สงวนลิขสิทธิ์ อนุญาตให้นักเทศนาสามารถนำไปใช้เทศน์ได้ นอกจากนี้ยังมีในรูปแบบวีดีโอเป็นร้อย ๆ ซึ่งเทศน์โดย ดร. ไฮเมอร์ส และนักศึกษาของท่าน บทเทศนาต้นฉบับไม่สงวน แต่จะสงวนเฉพาะในรูปแบบวีดีโอ กรุณาคลิกที่นี่เพื่อเรียนรู้ว่าจะสนับสนุนการประกาศพระกิตติคุณไปทั่วโลกได้อย่างไร
ตอนที่คุณเขียนหนังสือไปให้ ดร. ไฮเมอร์ส บอกท่านเสมอว่าคุณเขียนมาจากประเทศอะไร หรือท่านไม่ได้ตอบคุณ อีเมล์ของ ดร. ไฮเมอร์ส คือ rlhymersjr@sbcglobal.net
ทางที่สาม – วิกฤตแห่งการกลับใจใหม่THE THIRD WAY – CRISIS CONVERSION โดย ดร. อาร์ เอล์ ไฮเมอร์ส จูเนียร์ เทศนาในตอนเย็นวันของพระเป็นเจ้าที่ 9 เดือนมีนาคม ค.ศ. 2014 ณ และ “เตือนสำหรับการเทศนาแบบอรรถธิษบาย” โดย แลน เฮช เมอรี่ “และพระองค์ตรัสว่า ชายคนหนึ่งมีบุตรชายสองคน บุตรคนน้อยพูดกับบิดาว่า บิดาเจ้าข้า ขอทรัพย์ที่ตกเป็นส่วนของข้าพเจ้าเถิด’ บิดาจึงแบ่งสมบัติให้แก่บุตรทั้งสอง ต่อมาไม่กี่วัน บุตรคนน้อยนั้นก็รวบรวมทรัพย์ทั้งหมดแล้วไปเมืองไกล และได้ผลาญทรัพย์ของตนที่นั่นด้วยการเป็นนักเลง เมื่อใช้ทรัพย์หมดแล้วก็เกิดกันดารอาหารยิ่งนักทั่วเมืองนั้น เขาจึงเริ่มขัดสน เขาไปอาศัยอยู่กับชาวเมืองนั้นคนหนึ่ง และคนนั้นก็ใช้เขาไปเลี้ยงหมูที่ทุ่งนาเขาใคร่จะได้อิ่มท้องด้วยฝักถั่วที่หมูกินนั้น แต่ไม่มีใครให้อะไรเขากินเมื่อเขารู้สำนึกตัวแล้วจึงพูดว่า ลูกจ้างของบิดาเรามีมาก ยังมีอาหารกินอิ่มและเหลืออีก ส่วนเราจะมาตายเสียเพราะอดอาหารจำเราจะลุกขึ้นไปหาบิดาเรา และพูดกับท่านว่า บิดาเจ้าข้า ข้าพเจ้าได้ทำผิดต่อสวรรค์และทำผิดต่อหน้าท่านด้วย ข้าพเจ้าไม่สมควรจะได้ชื่อว่าเป็นลูกของท่านต่อไป” (ลูกา 15:11-19) |
มีอยู่สองวิธีที่จะเทศนาพระกิตติคุณให้กับผู้ที่ไม่เชื่อในทุกวันนี้ วิธีแรกมักจะเรียกว่า "ความเชื่อแบบง่ายๆ" วิธีที่สองเรียกว่า "ทางแห่งความรอด" มีบางอย่างที่ผิดปกติให้กับทั้งสองวิธีนี้ เพราะสองวิธีนี้พระเจ้าไม่เคยใช้ในยุคแห่งการฟื้นฟูใหญ่ในปี 1859! นักเทศน์ที่มีชื่อเสียงส่วนใหญ่กล่าวว่าสมาชิกในคริสตจักรส่วนใหญ่ยังไม่เคยกลับใจใหม่ ในหนังสือของเราที่ชื่อ ประกาศให้กับประเทศที่ตายแล้ว ผู้ช่วยศิษยาภิบาลของผมคือ ดร. ซี เอล คาเกน และผมเคยกล่าวว่ามีผู้นำหลายคนต่างก็ชี้ให้เห็นว่าพวกอีเวนเจลิคอล์คือพวกที่ยังหลงหาย รวมทั้งครูสอนรวีวาระศึกษา มัคนายก ภรรยาของศิษยาภิบาล และแม้กระทั่งตัวของศิษยาภิบาลเอง ดร. เอ ดับพริว โทเซอร์ กล่าวว่า " ในบรรดาคริสตจักรของพวกอีเวนเจลิคอล์มีไม่เกินสิบคนที่มีประสบการณ์เรื่อการบังเกิดใหม่" ดร. ดับบริล คริสเวลล์ เป็นผู้รับใช้ที่มีชื่อเสียงที่คริสตจักรแบ๊บติสต์ที่หนึ่งที่ ดัลลัส เท็กซัส กล่าวว่า "เขาจะประหลาดใจมากถ้าพบสมาชิกของเขาประมาณ 25 % ในสวรรค์" ย้อนกลับไปในปี 1940 ชายหนุ่มที่ชท่อ บิลลี่ เกรแฮม เคยประกาศว่า 85 % สมาชิกคริสตจักรของเรา "ยังไม่เคยบังเกิดใหม่" ดร. มอนโร "บาทหลวง" ปาร์กเกอร์ นักพูดของพวกเฟนดาเมนทอลิสต์ กล่าวว่า "ถ้าสมาชิกคริสตจักรของเราครึ่งหนึ่งคือผู้ที่ได้รับความรอดแล้ว เราก็จะเห็นการฟื้นฟู ในความเป็นจริงผมคิดว่าถ้านักเทศน์ในอเมริกาของเรากลับใจใหม่เพียงแค่ครึ่งเท่านั้นก็จพมีการฟื้นฟูยิ่งใหญ่" (Monroe “Monk” Parker, Through Sunshine and Shadows, Sword of the Lord Publishers, 1987, pp. 61, 72) ตัวเลขทั้งหมดเหล่านี้คือหนังสืออ้างอิงจากหนังสือของเราที่ชื่อ ประกาศให้กับชนชาติที่ตายแล้ว (หน้า 42, 43) ตัวเลขเหล่านี้ได้รับมาจาก ดร. เอ ดับบริล โทเซอร์ ดร. ดับบริล เอ คริสเวลล์ บิลลี่ เกรแฮมและ ดร. "มังก์" ปาร์กเกอร์ พวกเขาแสดงให้เห็นว่าตัวเลขเหล่ากำลังแสดงว่าการประกาศของเราอาจผิดปกติไป อย่างที่ผมบอกมาแล้วว่า มีอยู่สองวิธีที่จะเทศนาพระกิตติคุณให้กับผู้ที่ไม่เชื่อในทุกวันนี้ วิธีแรกมักจะเรียกว่า "ความเชื่อแบบง่ายๆ" วิธีที่สองเรียกว่า "ทางแห่งความรอด" มีบางอย่างที่ผิดปกติให้กับทั้งสองวิธีนี้ เพราะสองวิธีนี้พระเจ้าไม่เคยใช้ในยุคแห่งการฟื้นฟูใหญ่ในปี วิธีแรกเรียกว่า "ความเชื่อแบบง่ายๆ" นั่นเป็นวิธีการส่วนใหญ่ที่ใช้โดยพวกอีเวนเจลิคอล์ และพวกเฟนดาเมนทอล์ในทุกวันนี้ พวกเขานำคนมารับเชื่อผ่านทางที่พวกเขาเรียกว่า "บทอธิษฐานของคนบาป" ขอให้พระเยซู "เข้ามาในใจของพวกเขา" หลังจากนั้นก็ถือว่าผู้เชื่อใหม่เหล่านั้น “รอดแล้ว” พวกเขาไม่เคยแสดงให้เห็นว่าเปลี่ยนแปลงชีวิตใหม่ ดำเนินชีวิตในบาป และไม่เคยไปนมัสการ มีคนเป็นล้านที่พูดพูดภาษาอังกฤษในโลกนี้เป็นเช่นนี้ วิธีที่สองที่ใช้ในการประกาศเรียกว่า "อำนาจแห่งความรอด" วิธีการนี้เกิดขึ้นเพื่อใช้ต่อต้านวิธีที่เรียกที่ว่า"ความเชื่อแบบง่ายๆ" " แต่ "อำนาจแห่งความรอด" ล้มเหลวในการแก้ไข “ความเชื่อแบบง่าย” แม้ว่าผู้ถือยืดถือมุมมองนี้จะมีความชัดเจนมากขึ้นกว่าคนอื่น ๆ แต่วิธีการของพวกเขาก็ไม่เคยถูกใช้ในยุคแห่งการฟื้นฟูใหญ่ หรือใช้ในที่สำคัญใด ๆ ที่สามารถเพิ่มผู้เชื่อหใม่เข้ามาในคริสตจักร การเทศนืแบบ "อำนาจ" พยายามที่จะแก้ไขความวุ่นวายและความผิดพลาดขอ "ความเชื่อแบบง่ายๆ" โดยกล่าวซ้ำแล้วซ้ำอีกเน้นหลักการ และสิ่งที่พวกเขาเรียกว่า "กลับใจใหม่" ความเชื่อไก้รับอิมธิผลมาจากรูปแบบของ “เซนดีเมเนียนนิยม” หรือ ”Sandemanianism" และยึดถือรูปแบบของความชอบธรรมของในการทำงาน “เซนดีเมเนียนนิยม” เน้นถึวความเชื่อในข้อพระคัมภีร์และหลักคำสอนมากกว่าในพระเยซูคริสต์ นักเทศน์คนหนึ่ง กล่าวว่า "เราต้องเชื่อมั่นหรือไว้วางใจในสิ่งที่พระเจ้าได้ทรงกระทำ" แม้ว่าเขาจะรู้หรือไม่ก็ตาม นี่คือ ความหมายของพวก "เซนดีเมเนียนนิยม" พวกเขาบอกว่าคนบาปว่าเขารอดแล้วโดยวางใจในสิ่งที่พระคัมภีร์กล่าว แต่แทนที่จะบอกให้เชื่อไว้วางใจในตัวของพระเยซูคริสต์ ลองไปดูบทที่ "“เซนดีเมเนียนนิยม” หรือ “Sandemanianism" ในหนังสือ ดร. ลอยด์ โจนส์ The Puritans: Their Origins and Successors, Banner of Truth, 2002 edition, pp. 170-190 ให้เปิดไปอ่านได้ที่บทเทศนาในหัวข้อ “เซนดีเมเนียนนิยม" พวกฟาริสีในสมัยของพระคริสต์นั้นไม่ได้ขึ้นอยู่กับรูปแบบของการใด ๆ "ความเชื่อแบบง่ายๆ” ภายนอกของพวกเขานั้นอยู่อย่างคนที่ไร้มลทิน พวกเขาศึกษาพระคัมภีร์อย่างต่อเนื่องและเชื่อตามนั้น อะไรคือข้อผิดพลาดในชีวิตของพวกเขา? สิ่งเดียวนั้นคือ – ตัวของพระเยซูคริสต์เอง! พระเยซูตรัสกับเขาว่า “จงค้นดูในพระคัมภีร์ เพราะท่านคิดว่าในพระคัมภีร์นั้นมีชีวิตนิรันดร์ และพระคัมภีร์นั้นเป็นพยานถึงเรา แต่ท่านทั้งหลายไม่ยอมมาหาเราเพื่อจะได้ชีวิต” (ยอห์น 5:39, 40) ซี เอช สเปอร์เจียน กล่าวว่า "ความเชื่อที่ทำให้จจิตวิญญาณรอดนั้นคือเชื่อในบุคคล ขึ้นอยู่กับพระเยซู" (“The Warrant of Faith,” The Metropolitan Tabernacle Pulpit, volume 9, Pilgrim Publications, 1979, p. 530) ในคำเทศนากันต์เเดียวกัน สเปอร์เจียน กล่าวว่า "ความรู้ที่เป็นข้อเท็จจริงเหล่านี้ [ในพระคัมภีร์] แค่นั้นไม่เพียงพอจนกว่าเราจะมาเชื่อในพระผู้ช่วยให้รอกแต่ช่วยเราถ้าเราจริงๆอย่างแท้จริงและความไว้วางใจจิตวิญญาณของเราอยู่ในมือมหาไถ่" (ibid.) บุตรน้อยหลงหายในพระคัมภีร์ของเราตอนนี้รู้ว่า "พ่อ" มี "ขนมปังพอและเพื่อสำรองไว้" (ลูกา 15:17) แต่อาศัยความรู้ที่เป็นข้อเท็จจริงเหล่านั้นไม่ได้ช่วยเขาให้หายหิวได้ เขาจะต้องมาหา "พ่อ" ของเขาโดยตรงเพื่อมารับเอา "ขนมปัง" ความเชื่อในพระคัมภีร์ แม้ว่าความเชื่อนั้นความจริง แต่นั่นมาสามารถช่วยใครให้รอดได้ มนุษย์สามารถเชื่อในพระคัมภีร์และหลักข้อเชื่ออย่างเช่น เวสมินสเอตร์ เคชเชน แต่ไม่รอดโดยทางนั้น อย่างที่อัครทูตเปาโลพูดถึง "ที่ท่านได้รู้พระคัมภีร์อันบริสุทธิ์ ซึ่งมีฤทธิ์สอนท่านให้ได้ปัญญาถึงความรอดโดยความเชื่อในพระเยซูคริสต์" (2 ทิโมธี 3:15) ความเชื่อที่ตั้งอยู่ในพระคัมภีร์และหลักข้อเชื่อไม่สามารถรอดได้ พระคัมภีร์ชี้ให้เราไปที่พระเยซูคริสต์ เราถึงจะรอดได้ "โดยความเชื่อที่อยู่ในพระเยซูคริสต์"! เราไม่สามารถรอดได้เพียงแค่ทำตาม "บทอธิษฐานของคนบาป" เราไม่อาจรอดโดยแค่เชื่อว่าพระคัมภีร์กล่าวถึงพระเยซู เราไม่อาจรอดได้โดยเชื่อฟังพระคริสต์ ทางเดียวที่ทำให้เรารอดนั่นคือ “ที่ท่านได้รู้พระคัมภีร์อันบริสุทธิ์ ซึ่งมีฤทธิ์สอนท่านให้ได้ปัญญาถึงความรอดโดยความเชื่อในพระเยซูคริสต์” (2 ทิโมธี 3:15) พระคัมภีร์กล่าวไว้อย่างชัดเจนว่า “ด้วยว่าซึ่งท่านทั้งหลายรอดนั้นก็รอดโดยพระคุณเพราะความเชื่อ” (เอเฟซัส 2:8) พระเยซูคือจุดศูนย์กลางในความเชื่อ และอาจารย์เปาโลจึงกล่าวว่า “จงเชื่อวางใจในพระเยซูคริสต์เจ้า และท่านจะรอดได้ทั้งครอบครัวของท่านด้วย” (กิจการ 16:31) เพื่อนผู้รับใช้ของผมที่ชื่อ ดร. ซี เอล คาเกน กล่าวว่า “ความจริงก็คือเราเชื่อโดยตรงในพระเยซู ผู้อยู่เหนือทุกสิ่ง – ‘และสรรพสิ่งทั้งปวงเป็นระเบียบอยู่โดยพระองค์’ โคโลสี 1:17 (Preaching to a Dying Nation, p. 220). ความเชื่อเช่นนี้เป็นเพียวแค่ขั้นพื้นฐานที่เรียกว่า “ความเชื่อแบบง่ายๆ” และ “ทางความเชื่อ” สิ่งที่ผมกล่าวในที่นี้คือเรียกว่า “ทางที่สาม” – วิกฤตแห่งการกลับใจใหม่" ทางที่หนึ่งเรียกว่า “บทอธิษฐานของคนบาป” ทางที่สองคือความพยายามแสวงหาพระคริสต์ด้วยตังเองเพื่อได้พระองค์มาเป็นพระผู้ช่วยให้รอด – โดยทางนี้คนบาปคนหนึ่งไม่อาจทำได้! แต่ “ทางที่สาม – "วิกฤตแห่งการกลับใจใหม่" เคยพูดถึงคำว่า “"วิกฤตแห่งการกลับใจใหม่" – และเป็นลักษณะความเชื่อของ “คนสมัยก่อน” ทำกันอย่างที่ลูเธอร์เคยประสบมา "วิกฤตแห่งการกลับใจใหม่" อย่างเช่นของ จอห์น บานเยน จอร์จ ไวท์ฟิวล์ท จอห์น เวสเลย์ และ ซี เอช สเปอร์เจียน เคยประสบกันมา – และคนอื่น ๆ ที่กลับใจใหม่อย่างแท้จริงก่อนที่จะมามีแบบ "บทอธิษฐานของคนบาป" และ "อำนาจแห่งความรอด" ที่กลายเป็นที่นิยม - แต่ความเชื่อเหล่านี้กลับทำลายแนวคิดอย่าง "วิกฤตแห่งการกลับใจใหม่" ของแบ๊บติสและโปรเตสแตนต์บรรพบุรุษของเรา ผมจะอธิบาย ถึงการทำเช่นนี้ว่ามันเป็น "สิ่งเลวร้าย" แล้วฉันจะอธิบาย "ตื่น". I. ประการแรก ที่นี่คืออธิบายคน "ชั่วร้าย" ที่ถูกเปิดเผโดนวิธีที่สาม "วิกฤตแห่งการกลับใจใหม่" เหตุผลที่ผมเลือกคำอุปมาเรื่องบุตรน้อยหลงหาย ก็เพื่อแสดงให้เราเห็นถึงสิ่งเป็นความหมายดั้งเดิมเกี่ยวกับ "วิกฤตแห่งการกลับใจใหม่" ความเชื่อนี้มอยู่ในยุคแรกนั้น แต่แต่ระยะหลังๆ ก็เกิดความเชื่อใหม่เข้ามาแทนที่เช่น "บทอธิษฐานสารภาพของคนบาป" และ "อำนาจแห่งความรอด" บุตรน้อยหลงหายคือคนบาป เขาถามหาส่วนมรดกที่เป็นของเขาและหนีออกจากบ้านเดินทาง "ไปเมืองไกล และได้ผลาญทรัพย์ของตนที่นั่นด้วยการเป็นนักเลง" (ลูกา 15:13) นั่นคือสิ่งที่เราทุกคนต่างก็ทำกัน ไม่ว่าจะด้วยทางใดก็ทางหนึ่ง เราหันหลังให้กับพระคริสต์และดำเนินชีวิตอยู่ในบาป เราปฏิเสธพระคริสต์เช่นเดียวกับลูกชายคนนั้นปฏิเสธพ่อตัวเอง ในความเป็นจริงก็คือเราไม่เคยกลับใจใหม่ เราดูถูกและปฏิเสธพระผู้ช่วยให้รอดเช่นเดียวกับลูกชายคนเล็กกระทำโดยการเกลียดและปฏิเสธพ่อของเขา “ท่านได้ถูกมนุษย์ดูหมิ่นและทอดทิ้ง เป็นคนที่รับความเศร้าโศกและคุ้นเคยกับความระทมทุกข์ และดังผู้หนึ่งซึ่งคนทนมองดูไม่ได้ ท่านถูกดูหมิ่น และเราทั้งหลายไม่ได้นับถือท่าน” (อิสยาห์ 53:3) ในใจของเรานั้นถือว่าพระเจ้าและพระบุตรของพระองค์เป็นศัตรู เราไม่ได้อยู่ภายใต้พระบัญญัติของพระเจ้าเหมือนบุตรน้อยหลงหายที่ไม่อยู่ภายใต้กฎข้อบังคับของบิดาของเขา “เหตุว่าใจซึ่งปักอยู่กับเนื้อหนังนั้นก็เป็นศัตรูต่อพระเจ้า เพราะหาได้อยู่ใต้บังคับพระราชบัญญัติของพระเจ้าไม่ และที่จริงจะอยู่ใต้บังคับพระราชบัญญัตินั้นไม่ได้” (โรม 8:7) ใจของเรามักกบฏและไม่ยอมรับการแก้ไขและยังต่อต้านพระผู้ช่วยให้รอด ในความเป็นจริงก็คือเราเป็นคนบาปที่เลวร้าย โดยไม่รู้เลยว่าเราก็มีความชอบธรรมอยู่ในตัวเรา อัครทูตเปาโลกล่าวว่าเรา "ตายในละเมิดและทำบาป" และเราอยู่ภายใต้การควบคุมของซาตาน "เจ้าแห่งโลกนี้" (เอเฟซัส 2:1) ถ้าคุณยังเป็นคนบาปอยู่ นั่นเป็นภาพที่ไม่สวยงามเลย อาจารย์เปาโลกล่าวว่า “ทั้งพวกยิวและพวกต่างชาติต่างก็อยู่ใต้อำนาจของบาปทุกคน ตามที่มีเขียนไว้แล้วว่า ไม่มีผู้ใดเป็นคนชอบธรรมสักคนเดียว ไม่มีเลย” (โรม 3: 9, 10) ผู้เผยพระวจนะอิสยาห์กล่าวถึงสถานะจิตวิญญาณของคุณไว้ดังนี้ “...จิตใจก็อ่อนเปลี้ยไปสิ้น ตั้งแต่ฝ่าเท้าจนถึงศีรษะไม่มีความปกติในนั้นเลย มีแต่บาดแผลและฟกช้ำและเป็นแผลเลือดไหล ไม่มีการปิดแผลหรือพันไว้…” (อิสยาห์ 1: 5, 6) นี่คือเงื่อนไขของบุตรน้อยหลงหายคนนั้น พระคัมภีร์กล่าวว่า “เขาไปอาศัยอยู่กับชาวเมืองนั้นคนหนึ่ง และคนนั้นก็ใช้เขาไปเลี้ยงหมูที่ทุ่งนา เขาใคร่จะได้อิ่มท้องด้วยฝักถั่วที่หมูกินนั้น แต่ไม่มีใครให้อะไรเขากิน” (ลูกา 15: 15, 16) และนี่คือสถานะของคุณด้วยเช่นกัน “สัญชาติของประเทศนั้น” คือมีมารเป็นผู้ควบคุมจิตใจของคุณ “คือวิญญาณที่ครอบครองอยู่ในบุตรแห่งการไม่เชื่อฟัง” (เอเฟซัส 2:2) คุณได้ก้าวเข้าไปสู่ในสถานะที่น่ากลัว เป็นทาสของซาตาน มีชีวิตเยี่ยงทาสคอยรับใช้ซาตาน “ตายในบาปเหล่านั้น” (เอเฟซัส 2:5) อย่างทุกวันนี้รู้กันคือความเลวร้าย นี่คือสถานะของบุตรน้อยหลงหาย บิดาของเขาเองเป็นคนบอกว่าเขาได้ “ตาย” และก็ “หลงหายไป” เขาบอกว่า “เพราะว่าลูกของเราคนนี้ตายแล้ว แต่กลับเป็นอีก หายไปแล้ว แต่ได้พบกันอีก” (ลูกา 15:24) คุณอยู่ในสถานะที่ต่อต้านพระคริสต์ แม้คุณจะคิดว่าคุณมีอิสระก็ตาม แต่ความจริงคุณคือทาสที่แขวนอยู่ในบาป ทุกสิ่งที่มีอยู่พระเจ้าตายไปหมดแล้ว และถูกจองจำโดยซาตาน คุณถูกมารควบคุม และคุณก็คิดเอาเองว่าการมีชีวิตที่ป็นทาสของบาปนั้นคือเสรีภาพ! กรณีเช่นนี้คือคุณที่สิ้นหวัง และเลวร้ายอย่างสิ้นเชิง ความหวังในชีวิตหายไปเพราะตกเป็นทาสให้บาป และเมื่อมีคุณบอกว่าคุณคือคนที่อยู่ในสภาพการหลง แต่คุณจะโต้เถียงคนเหล่านั้น II. ประการที่สอง ที่นี่คือคำอธิบายของการ "ตื่นขี้นมา" ของคนบาปในยามทุกข์ยาก เขาค้นหาหนทางที่สาม "วิกฤติกแห่งการกลับใจใหม่" “เมื่อเขารู้สำนึกตัวแล้วจึงพูดว่า ‘ลูกจ้างของบิดาเรามีมาก ยังมีอาหารกินอิ่มและเหลืออีก ส่วนเราจะมาตายเสียเพราะอดอาหาร” (ลูกา 15:17) "ตอนที่มาสำนึก" นั่นคือเมื่อเขามาถึงความรู้สึกของเขาเอง ตอนเขาตื่นขึ้นมาจากอาการโคม่าของบาป อาการมึนงงและความมืดมนของความบาป "เมื่อเขามาสำนึก" ตอนที่เขาถูกปลุกให้ตื่นจากการนอนหลับในความตาย – หลังจากนั้นเขาก็จะคิดว่า "ฉันกำลังจะพินาศ" นี่คือการกระตุ้นคนบาปที่หลงหายไปเพราะรู้สึกถึงความทุกข์ยากทรมาน ความเศร้าโศกของชีวิตที่อยู่ในบาป การตื่นขึ้นมาเช่นนี้สามารถเกิดขึ้นได้โดยพระวิญญาณบริสุทธิ์เท่านั้น สเปอร์เจียนกล่าวถึงพระคำตอนนี้ว่า คนบ้าไม่อาจได้รู้ว่าเขาเป็นคนบ้า แต่ทันทีที่เขามาถึงที่ตัวเอง เขาจะรู้สึกเจ็บปวด [เห็น] ค้นหาหนทางที่จะหลีกหนีออกมา ทำให้พวกเขากลับมาค้นหาเหตุผลที่แท้จริงและการตัดสินใจ อย่างบุตรน้อยหลงหายกลับมาที่ตัวเอง (C.H. Spurgeon, MTP, Pilgrim Publications, 1977 reprint, volume 17, p. 385) การตื่นขึ้นเป็นเหมือนคนๆหนึ่งที่ถูกสะกดจิตและและถูกทำให้ตื่นขึ้นมาอีกครั้ง ในตำนานกรีกไซซี แม่มดสามารถเสกคนให้กลายเป็นหมู แต่ยูลิสซิบังคับแม่มดให้เสกสหายของเขาให้กลับคืนมาอยู่ในรูปกายของมนุษย์ตามเดิม ดังนั้นพระวิญญาณของพระเจ้าทรงปลุกบุตรน้อยหลงหายให้ตื่น เพียงแค่ทางนี้เท่านั้นถึงจะให้ชายคนนั้นมาถึงจุดที่สามารถรับรู้ได้ว่าตัวเองสิ้นหวังและน่ากลัว อัครสาวกเปาโลพูดถึง "การปลุก" ตอนที่เขากล่าวว่า “เหตุฉะนั้นพระองค์ตรัสแล้วว่า ‘คนที่หลับอยู่จงตื่นขึ้นและจงฟื้นขึ้นมาจากความตาย และพระคริสต์จะทรงส่องสว่างแก่ท่าน’” (เอเปซัส 5:14) แต่ "การตื่น" ของคนบาปอาจไม่ง่ายนะ และมีทางเดียวที่เกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อเขาพบกับสถานะการณ์เลวร้าย และค้นทางที่สามคือการกลับใจใหม่อย่างแท้จริง และอยู่ไกลกว่าที่มนุษย์ธรรมดาจะสามารถทำได้ แต่สามารถค้นพบโดยการรับฟังคำเทศนาเท่านั้น เหมือนอย่างที่ท่าน ปูริตาน ริชาร์ด แบ็กซ์เตอร์ (1615-1691) มักจะกล่าวเอาไว้ว่า นักเทศน์หลายคนอ้างโรม 10:13 ตอนพวกเขามาเทศนาถึงพระกิตติคุณ แต่แทบไม่มีใครที่คิดถึงในข้อต่อไปที่กล่าวว่า "พวกเขาจะได้ยินอย่างไรถ้าไม่มีการเทศน์" นั่นคือเหตุผลที่เราจะต้องมีการประกาศเทศนาในคริสตจักร "พวกเขาจะได้ยินอย่างไรถ้าไม่มีการเทศน์" และนักเทศน์จำเป็นต้องเรียนรู้วิธีการเทศนาประกาศให้กับผู้ที่ยังหลงหาย มีนักเทศน์ น้อยมาก รู้วิธีเตรียมคำเทศนาแบบการประกาศในทุกวันนี้ – น้อยมากจริงๆ! ผมไม่เคยได้ยินใครเทศนาในรูปแบบการประกาศมาเป็นเวลาหลายปีแล้ว! มันได้กลายเป็นอดิตไปเสียแล้ว นั่นคือเหตุผลสำคัญที่คนส่วนใหญ่ที่เข้าร่วมคริสตจักรของเราอย่างสม่ำเสมอแต่ยังคงไม่ได้รับความรอด! “พวกเขาจะได้ยินอย่างไรถ้าไม่มีการเทศน์" การเทศนาแบบประกาศแสดงให้เห็นคนบาปเห็นว่าพวกเขาจะพบกับความหายนะ ถ้าไม่เข้ามาที่พระเยซู จะต้องแสดงให้คนๆนั้นเห็นว่าบาปคือรากเง่าที่อยู่ในตัวของเขา ไม่ใช่ทำ "บาป" แต่ตัวของบาปนั้นได้แยกตัวเขาออกจากพระเจ้า ลักษณะของบาปคือการต่อต้านและความเห็นแก่ตัว คนบาปจะต้องเผชิญความจริงเหมือนกับบุตรน้อยหลงหาย ถึงการสิ่งที่ดขาทรยศพระเจ้า – และความเห็นแก่ตัวนั้นก่อปัญหาให้ตัวเขาเอง และตอนนั้นคนบาปเช่นนี้จะต้องได้ยินคำเทศนาจนกว่าเขาจะมาถึงจุดของการเปลี่ยนใจใหม่ นี้จะต้องเน้นจนกว่าคนบาปจะเริ่มจริงๆพยายามที่จะเปลี่ยนหัวใจของเขา ความพยายามของเขาที่เปลี่ยนหัวใจของเขามักจะล้มเหลว และมันก็เป็นความล้มเหลวที่ยังตื่นขึ้นมาคนบาปที่จะเป็นความจริงที่น่ากลัวเกี่ยวกับการอยู่โดดเดี่ยว เขาจะต้องได้รับการบอกซ้ำแล้วซ้ำเล่าว่าเขาสูญเสียทุกอย่างไป เขาจะต้องได้รับการบอกว่าจงมุ่งมั่นแสวงหาพระคริสต์ เขาจะต้องได้รับการบอกว่า การพยายามที่เปลี่ยนใจตัวเองนั้นจะต้องล้มเหลว และความล้มเหลวมีไปจนกระทั่งคนบาปตื่นขึ้นมาเพราะความจริงที่รู้ถึงความน่ากลัวเกี่ยวกับการโดดเดี่ยว เขาจะต้องได้รับการบอกซ้ำๆว่าเขาคือคนที่หลงหายไป เขาจะต้องได้รับการบอกให้แสวงหาพระคริสต์ เราต้องถูกบอกให้ “จงเพียรเข้าไปทางประตูคับแคบ…” (ลูกา 13:24) อย่างที่คนบาปมุ่งมั่นและล้มเหลว สุดท้ายเขาต้องมาถึงจุดที่รู้สึกว่าชีวิตที่ผ่านมาหลงหายไปไร้ความหวัง ความรู้สึกตรงนี้แหละจะนำเขาเข้ามาพบพระเยซู นี่เรียกว่าการ “การเทศนาตามธรรมบัญญัติ” – ซึ่งในอดิตล้วนแต่ทำอย่างนี้ นักเทศน์สมัยก่อนทำกัน – จนกว่าคนบาปจะมากลับใจด้วยตัวเอง! นั่นคือความหมายที่พระธรรมข้อนี้กล่าวถึง “โดยการประพฤติตามพระราชบัญญัติ เพราะว่าโดยพระราชบัญญัตินั้นเราจึงรู้จักบาปได้” (โรม 3:3) ด้วยซ้ำไม่สามารถที่จะกลายเป็นคนที่ศักดิ์สิทธิ์ด้วยซ้ำไม่สามารถหาสันติภาพกับพระเจ้า - และโดยเฉพาะอย่างยิ่งด้วยซ้ำล้มเหลวที่จะมาถึงพระเยซู - คนบาปจะเริ่มคิดว่า "ผมกำลังหายไป" นี่คือการกระตุ้นที่เขาจะต้องมี! กล่าวย้ำถึงคนบาปกลับมาเป็นคนที่บริสุทธิ์ และหลงหายจากการมีสันติสุขในพระเจ้า – โดยเฉพาะความล้มในการแสวงหาพระคริสต์ – คนบาปเริ่มต้นคิกว่า “ฉันเป็นคนที่หลงหาย!” นี่ คือการตื่นขึ้นมา! “เมื่อเขารู้สำนึกตัวแล้วจึงพูดว่า…เราจะมาตายเสียเพราะอดอาหารเราจะลุกขึ้นไปหาบิดาเรา …” (ลูกา 15:17-18) ณ จุดนี้เมื่อคนบาปได้รับความหวังทั้งหมด "ทำในสิ่งที่ถูกต้อง" หรือ "ทำในทางที่ถูก" – หลังจากนั้นเขาจะ "มาถึงตัวเอง" – ตื่นขึ้นและตระหนักว่าเขาจะต้องเข้ามาอยู่ในพระเยซู เพราะเขาไม่สามารถทำอะไรที่จะช่วยตัวเองให้รอดได้! "และตอนที่เขามาสำนึก" บุตรน้อยคนนั้นมารับรู้ถึงความวุ่นวายที่เกิดขึ้นเหมือนโลกนี้คือนรก เหมือนอย่างที่ท่าน บัน เคยผ่านไปก่อนที่เขาจะ "มาสำนึกได้" ก่อนที่เขาจะมาเปลี่ยนแปลงชีวิตและเข้ามากลับใจใหม่อย่างแท้จริง "กลับใจ" ในภาษากรีก หมายถึง "การเปลี่ยนใจ" นี่คือ "ทางที่สาม" "ฉันไม่มีอะไรอีกแล้ว แต่เป็นคนบาปที่มักกบฏ!" "ฉันไม่มีความหวังอีก" ฉันอยู่ในภาวะวิกฤติ! ฉันต้องเปลี่ยน - แต่ฉันไม่สามารถ ฉันไม่สามารถ ฉันไม่สามารถ ฉันได้พยายาม! ฉันได้พยายาม! ฉันพยายามแต่มันยากมาก มันเป็นไปไม่ได้ ฉันไม่สามารถกลับใจ! ฉันไม่สามารถเปลี่ยน! ฉันไม่สามารถเปลี่ยน! ฉันไม่สามารถเปลี่ยใจของฉัน ฉันหลงหายไป ฉันหลงหายไป ! ฉันหลงหายไป" นั่นยังไม่ว่าสิ่งที่เกิดขึ้นให้กับลูเทอร์ บันยัน จอห์น เวสลีย์, ไวท์ฟิวล์ด สเปอร์เจียน และ ดร. จอห์น ซัน – และคนอื่นๆที่กลับใจใหม่อย่างแท้จริง? สำหรับการแก้ไขนี้ ควรไปอ่านหนึงสือของ โทมัส ฮูเกอร์ (1586-1647) ในหัวข้อ เตรียมจิตวิญญาณเพื่อพระคริสต์ สำหรับฉบับแก้ไขใหม่ ดู The Old Evangelicalism: Old Truths for a New Awakening โดยเอชเลนเมอร์เร (ป้ายโฆษณาแห่งความจริงเชื่อ, 2005) สิ่งที่สำคัญคือต้องเข้าใจว่า ใช่ว่าผู้เชื่อทุกคนจะเหมือนกันไปหมด บางคนก็ใช้ระยะเวลาสั้นๆก็วามารถเชื่อเข้าใจได้ บางคนก็อาศันรัยัเวลายาวนานกว่าจะมาตักสินใจเชื่อ อย่างภรรยาของผมเองเธอมารับเชื่อครั้งที่ไกเข่าวประเสริฐ และผู้ช่วยศิษยาภิบาลของผมคือ ดร. คลิกตัน เอล ชาน แต่พระเจ้าทรงมีวิธีของพระองค์เองทำงานให้กับคนบาปเพื่อนำคนนั้นมากลับใจ บางคนก็ร้องไห้ก่อนจะมารับเชื่อ ความส่วนเป็นอย่างนั้น แต่แม่ของผมเองตอนมารับเชื่อกลับไม่เสียน้ำตาเลยแม้แต่หยดเดียว การกลับใจใหม่ที่แท้จริงนั้นมีสองจุดที่สำคัญใน – คนนั้นมารับรู้ถึงบาปของตน และได้รับการปลดปล่อยจากบาปเพราะเชื่อในพระเยซูคริสต์! ทั้งสองจุดนี้เกิดขึ้นจริงในตัวภรรยาของผมและ ดร. ชาน เช่นกันวกันกับ ลูเทอร์ บันยัน จอห์น เวสลีย์ จอร์จ ไวท์ฟิลด์ และ เปอร์เจียน – แม้ว่าเป็นระยะเวลาที่สั้นๆ แต่พวกทั้งหมดก็ขเหมือนถูกแทงจิตสำนึกก่อนที่จะมารับเชื่อในพระผู้ช่วยให้รอด คนที่แก้ตัวในบาปของพวกเขาหรือรแก้ไขแบบเล็กๆน้อยจะไม่มีทางที่จะกลับใจใหม่ได้ ดีมาก ผมดีใจที่คุณรู้สึกถึงบาปนั้น ตอนนี้บางทีคุณอาจจะค้นพบว่ากำลังเข้ามาพักในพระเยซู ตอนนี้บางทีคุณอาจจะรู้สึกถึงความรักของพระองค์ที่นำพระองค์ไปที่กางเขนเพื่อช่วยให้คุณรอด - เพราะคุณไม่สามารถช่วยตัวเองให้รอดได้! ตอนนี้คุณรู้สึกอยากเข้ามาที่พระเยซูผู้ทรงสิ้นพระชนม์บนไม้กางเขนในฐานะเป็นตัวแทนของคุณ และเอาพระโลหิตของพระองค์ชำระบาปของคุณ! แล้วตอนนั้นคุณจะขอบคุณพระเยซูที่ทำให้ชีวิตของคุณมีคุณค่า - เพราะคุณได้รับพระคุณของพระองค์ ความรักของพระองค์และความรอดของพระองค์เพราะว่า "วิกฤตการแห่งการกลับใจใหม่" – นี่คือวิธีเดียวที่สามารถเปลี่ยนใจและช่วยกู้วิญญาณของคุณรอดพ้นจากจากการพิพากษาของพระเจ้า! ผมหวังว่าคุณจะเห็นถึงความแตกต่างระหว่าง "การเชื่อแบบง่าย" และ "อำนาจของความรอด" กับทางนี้ และผมอธิษฐานขอให้คุณมีประสบการณ์ตอนที่เข้ามาวางใจพระเยซู และรับการชำระบาปโดยพระโลหิตอันมีค่าของพระองค์ จากนั้นผมก็หวังว่าคุณจะสามารถร้องเพลงไปพร้อมกับ ชาร์ลส์ เวสลีย์ พระเยซู ผู้เป็นที่รักแห่งจิตวิญญาณของฉัน ฉันจะบินออกไป ถ้าคุณอยากจะคุยกับพวกเราเกี่ยวกับการรับการชำระบาปโดยโลหิตของพระเยซู กรุณาออกจากที่นั่งของคุณตอนนี้และเดินไปที่ด้านหลังของห้องนมัสการนี้ ดร. คาเกน จะนำพวกคุณไปยังอีกห้องหนึ่งเพื่อให้คำปรึกษาและอธิษฐานเผื่อ ไปได้ในตอนนี้ ดร. ชาน กรุณานำเราอธิษฐานเผื่อคนที่ไว้วางใจในพระเยซูนี้ด้วย อาเมน (จบการเทศนา) คุณสามารถส่งอีเมล์ถึง ดร. ไฮเมอร์ส ที่ rlhymersjr@sbcglobal.net หมายเหตุ: ต้นฉบับของบทเทศนาเหล่านี้ไม่ได้สงวนลิขสิทธิ์ อ่านพระคัมภีร์ก่อนเทศนาโดย อาเบล พลูโฮมมี: ลูกา 15:14-19 “เตือนสำหรับการเทศนาแบบอรรถธิษบาย” by Iain H. Murray จำนวนนักเทศน์ในในทุกวันนี้ "จะเทศนาแบบอรรถธิบาย" ตามยุคตามสมัยและนักเทศน์ส่วนใหญ่ก็ทำเช่นนั้น เปรียบเสมือนว่านี่เป็รูปแบบของธุรกิจคือการ จำกัด ตัวเองกับข้อความในพระคัมภีร์และให้ความรู้สึกธรรมดากับคนอื่น ๆ ที่มีอะไรมากขึ้นในการหารือที่สามารถเห็นบันทึกผู้ที่ไม่ได้รู้ว่าพระคัมภีร์เป็นพระวจนะของ พระเจ้า แต่ "การเทศนาแบบอรรถธิบาย" จะมีความหมายที่มากไปกว่านั้น ความหมายกว้างๆคือการเทศนาให้กับสมาชิกแบบตามข้อพระคัมภีร์ หรือสอนพระวจนะแบบอทิตย์ต่ออาทิตย์ ขั้นตอนนี้ถ้าจะเทียบกับวิธีการของการเทศนาแบบเนื่อหาเป็นของส่วนบุคคล จะไม่มีการเชื่อมต่อโดยตรงกับคนอื่น ๆ ในวันอาทิตย์นั้ต่อๆปยังอาทิตย์หน้า หลังจากนั้นการเทศนาแบบนี้จึงไม่ค่อยเป็นที่นิยม นั่นคือ "การอรรถธิบาย" แต่ทำไมลักษณะ "การเทศนาแบบอรรถธิบาย" จึงกลายเป็นที่นิยมยุคต่อมา? มีเหตุผลอยู่หลาย อย่าง อย่างแรกก็เชื่อว่าการฝึกฝนจะยกระดับมาตรฐานของการเทศนา เพราะเป็นตามหลักคำสอนในพระคัมภีร์ และกล่าวว่านักเทศน์ออกจากงานอดิเรกม้าและสมาชิกที่ฟังเข้าใจพระคัมภีร์และฉลาดมากขึ้น นักเทศน์จึงต้องศีกษาค้นคว้าเนื้อหาที่จะนำมาเทศน์ – ผู้เทศน์และผู้ฟังรู้ล่วงหน้าแล้ว เหตุผลที่นำมายืนยันก็เพื่อนักเทศน์ที่มีอายุน้อย สามารถเทศนาตั้งอยู่หลักในความเป็นจริงให้กับการนมัสการหรือการประชุมใหญ่ – ที่รู้จักกันดีคือนักเทศน์จะนำพระคัมภีร์เพียงตอนเดียวมาเทศน์และพูดน้อยๆ พวกเขายังนำคำเทศนาเหล่านั้นมาจำหน่ายขาย ดั้งนั้นจึงบอกว่านี่คือรูปแบบที่ดีที่สุดของการเทศนา และเป็นการเศนาในรูปแบบของการ “อรรถธิบายพระคัมภีร์” อย่างเป็นที่นิยมกัน1 อย่างไรก็ตามในมุมมองของเรา นั่นเป็นการเทศนาที่ไม่ก่อประโยชน์ใดอย่างที่จะกล่าวกังต่อไปนี้: 1. สันนิฐานว่านักเทศน์ทั้งหมดนี้สามารถเทศน์ตามบรรทัดเหล่านี้ แต่มนุษยนั้นมีของประทานที่แตกต่างกัน สเปอร์เจียนไม่คุ้นเคยกับการเทศน์แบบ "อรรถธิบายพระคัมภีร์" (การฟังพระวจนะในวัยหนุ่มของเขา บางทีคนฮีบรูได้เก็บพระวจนะเหล่านั้นให้กับพวกเขาเอง!) และเขาก็ตัดสินใจว่านั่นไม่ใช่ของประทานที่เขามี นั่นคือเหตุผลที่จะคิดว่าการเทศนาแบบ "อรรถธิบาย" ไม่ใช่ของประทานธรรมดาที่นักเทศน์จะต้องมาคิด แม้ ดร. ลอยด์ โจนส์เขาเริ่มทำพันธกิจตอนอายุ 20 ปี และเขาก็พยายามลดระดับการเทศฯแบบอรรถธิบายลง 2. ข้อโต้แย้งว่า "การเทศนาแบบอรรถธิบาย" เป็นวิธีการที่ดีที่สุดเพื่อให้ครอบคลุมเนื้อหาในพระคัมภีร์ให้มากที่สุด และเชื่อมโยงกับกับความคิดที่ว่าวัตถุประสงค์สำคัญของการเทศนาคือการพูดหรือใช้พระคัมภีร์มากเท่าที่มากได้ แต่ความคิดนั้นจะต้องมีการท้าทาย การเทศนามีเน้นหนักสิ่งที่จำเป็นต้องได้มากกว่าแค่การสอนให้ทำตาม ต้องอาศัยความพยายาม การปลุกให้ตื่น และกระตุ้นชายและหญิงเพื่อให้มีชีวิตแห่งการเป็นคริสเตียนที่เติบโต และเป็นนักเรียนพระคัมภีร์ประจำ ถ้านักเทศน์รับงานของเขาแบบเป็นการแนะนำมากกว่าการเทศนาแบบกระตุ้น และในแต่ละสัปดาห์นั่นมันง่ายเหมือนอยู่ใน "ชั้น" เรียน – และก็จบลงที่นั่น แต่การเทศนาที่แท้จริงต้องมีการจุดชนวนเป็นกระบวนการอย่างต่อเนื่อง 3. สิ่งที่สำคัญ โดยเฉพาะ – คริสตจักรในสกอตแลนด์ – มีความแตกต่างระหว่าง "การเทศน์" และ "การบรรยาย" คำว่า "บรรยาย" ไม่มีความหมายใด ๆ และตอนนี้ก็คือการเทศนา”แบบอรรถธิบาย” นั่นเอง การรักษาที่ ต่อเนื่องของทางเดินหรือหนังสือ ข้อคิดของจอห์นบราวน์ของ Broughton สถานที่เอดินเบิร์ก เกิดขึ้นในลักษณะนี้ ดังนั้นตอน ลอยด์ โจนส์กล่าวถึงพระธรรมโรมเขาเรียกแบบนี้ว่าอรรถธิบายแบบ "บรรยาย" ความแตกต่างระหว่างการเทศนาและการบรรยายในมุมมองของเขานั้นคือ บทเทศนาจะเป็นรูปกลมความแตกต่างคือจบสมบูรณ์ในตัวมันเอง - ในขณะที่การบรรยายในพระคัมภีร์นั้นจะมีมากไปกว่านั้นและต้องทำต่อเนื่อง ในทางตรงกันข้ามกับพระธรรมโรมของเขา ในความรู้สึกวของลอยด์โจนส์เกี่ยวกับเนื้อหาในพระธรรมเอเฟซัสของเขานั้น จะเป็นเป็นคำเทศนาและทุกคนเปรียบเทียบขั้นตอนของเขาในทั้งสองซีรีส์ (พระธรรมแรกสำเร็จในคืนวันศุกร์ และในส่วนที่สองสำเร็จในเช้าวันอาทิตย์) และสามารถเห็นถึงความแตกต่าง นี่ไม่ได้ลดค่าพระธรรมโรมเขา แต่สังเกตุที่จุดประสงค์ที่มีความแตกต่างกัน 4. ในตอนท้ายของวันนั้น จุดเด่นของการเทศนานั้นก็คือสามารถเป็นประโยชน์ให้แก่ผู้ฟัง อย่างเต็มและมากที่สุด และถ้านำสองอย่างนี้มาเชื่อมต่อกัน จะเห็นว่า "การอรรถธิบาย" เป็นวิธีการไม่ค่อยสร้างประโยชน์มากนัก เพราะว่าไม่คอ่ยเป็นที่นิยมในระยะยาว และผมคิดว่าเหตุผลนี้ก็ชักเจนอยู่แล้ว: เนื้อหาที่จดจำนั้นผู้ฟังกลับลืมมันไป บางครั้งก็เป็นความจริงนั้นคือเนื้อหานั้นเขียนแบบบรรทัดแทนที่จะเป็นแบบเป็นข้อๆ – ตัวอย่างเช่นคำอุปมาหนึ่งในพระกิตติคุณ – ถ้าเป็น “การเทศนาแบบอรรถธิบาย” แต่ละตอนในแต่ละข้อนั้นก็จะเป็นแบบ “ข้อความ” มากกว่านำความคิดแบบรวมทั้งหมดมากล่าวในการเทศนานั้นจเนื้อหาทั้งหมดที่น่าจะชัดเจน (ซึ่งจะเห็นได้จากบทเทศนาของสเปอร์เจียน) กลับที่จะหายไปหมด ถ้าเป็นเช่นนี้นักเทศน์กลายเป็นเพียงนักอรรถธิบายพระคัมภีร์ บางครั้งนักเทศน์ก็นำเนื้อหาเฉพาะจุดที่เขาเองนั้นสนใจ แต่ผู้ฟังอาจจะเข้าไม่ดีพอหรืออาจจะดีไปกว่านักเทศน์เสียอีก โดยใช้เนื้อหาในพระคัมภีร์ตอนเดียวกัน แต่ก็อาจจะกล่าวได้ว่า "นั่นไม่ใช่พระธรรมเอเฟซัสแบบของ ลอยด์ โจนส์ รวมทั้งการอรรถธิบายและการเทศนาตามเนื้อหาหรือเปล่า? เขาบังคับใช้เพียงบางความคิดและแค่ครั้งเดียว และยังดำเนิน ต่อเนื่องกัน – ทำไมคนอื่นถึงไม่สามารถเช่นเดียวกันนั้น?" คำตอบก็คือ ลอยด์ โจนส์ ได้ นำต้นฉบับเดิมและใช้อรรถธิบายพระธรรมเอเฟซัส แต่ตรงนี้คือชนิดของการเทศนาที่ ไม่ได้ขึ้นอยู่กับของประทานของนักเทศน์ มีคนมากมายได้เทศนาแบบใช้พระคัมภีร์ข้อต่อข้อ – จากพระคัมภีร์ตอนใดตอนหนึ่งที่มีผลใกล้จะหายนะ น่าจึงเป็นเหตุผลที่ทำไมมีการ "ปฏิรูป" การเทศนาและมีการวิพากษ์วิจารณ์ว่า "หนัก" หรือ ธรรมดาไร้ "ประสิทธิภาพ"ไร้ความทะเยอทะยานถ้าเทศน์แบบ “อรรถธิบาย" 5. นักเทศน์หรือนักประกาศจะไม่นิยมแบบ "อรรถธิบาย" ในความเป็นจริงคือจะไม่ใช้แบบ" การอรรถธิบายพระคัมภีร์" นักเทศน์ประกาศที่แท้จริงนั้นจะพูดความจริงที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับจิตใจของผู้ฟัง สามารถบอกว่าถ้านี้เป็นจริง มันเป็นความผิดของคน ไม่ใช่ เนื้อหาในพระคัมภีร์ที่ว่าพระคัมภีร์ทุกตอนได้รับการดลใจจากพระเจ้าหรือเปล่า? และจริงหรือไม่ที่พระวิญญาณของพระเจ้าทรงปลุกคนบาปให้ตื่นขึ้นมา? บางที่อาจเป็นเช่นนั้น แต่ก็เป็นที่ชัดเจนที่พระคัมภีร์บอกว่าเนื้อหาทั้งหมดใช้กฃประกาศให้กับผู้ที่ไม่เป็คริสเตียน (เห็นตัวอย่างจากการเป็นพยานของพระเยซุ) และนั่นเป็นความจริง และข้อความเหล่านี้มีความโดดเด่นพิเศษต่อพันธกิจแห่งการประกาศ เป็นเนื้อหาที่คนในสมัยก่อนใช้นำคนมารับเชื่อและกลับใจใหม่อย่างเช่น – ไวท์ฟิวท์ แมคเชนี สเปอร์เจียน ลอยด์ โจนส์ และคนอื่นๆ ในทึกวันนี้คนเหล่านี้กลับถูกลืม เมื่อไหร่ที่คือครั้งสุดท้ายที่คุณ ได้ยินคำเทศนา "อะไรคือสิ่งที่ดีต่อวิญญาณของผู้ที่ยังไม่เชื่อ"? ในที่นี้ไม่ใช่ข้อโต้แย้งว่าแนวคิดของการเทศฯว่าใครถูกใครผิด เพียงแค่บอกว่าอะไรที่ไม่ควรนำมาใช้เทศน์บนธรรมมาสน์ ขอให้นักเทศน์ทุกคนค้นหาสิ่งที่ดีที่สุดมาทำ และคือความจริงเกี่ยวกับการเทศนาที่เต็มไปด้วยความเชื่อและพระวิญญาณบริสุทธิ์อย่างที่มีความจำเป็นอย่างมากในเวลานี้ มากกว่าเป็นเพียงแค่การเรียนการสอนที่ถูกต้องเท่านั้น เราต้องการคำเทศนี่เปลี่ยนแปลงสมาชิกและนำคนมาเชื่อพระเจ้า สิ่งที่ท้ายที่เกี่ยวข้องกับที่กล่าวมาก็คือนิยาย ผมอยากปิดปิดด้วยการเสนอความเห็นถึงนักเทศน์ยิ่งใหญ่คนหนึ่งในศตวรรษที่ผ่านมาตือ อาร์ บี ไคเปอร์ ในชีวประวัติของเขาชี้ให้เห็นว่าเขาปฏิเสธการเทศนาแบบ "อรรถธิบาย" ที่ชอบเอาพระคัมภีร์มาประยุกต์ใช้ เขายังกล่าวต่อว่า: “มันเป็นข้อผิดพลาดอย่างร้ายแรงที่จะแนะให้เทศนาแบบอรรถธิบายพระคัมภีร์อย่างที่เข้าใจว่ากันว่าเพราะถูกต้องตามกฎหมาย หรือไม่เป็นที่น่าพอใจ หลังจากพวกอนุรักษ์นิยมจำนวนมากยกย่องว่าเป็นวิธีการที่ดีที่สุด การเทศนาทุกอย่างต้องเป็นแบบอรรถธิบาย .... นอกจากนี้เขายังคัดค้านที่จะแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเทศนาที่ขึ้นอย๔กับหนังสืออรรถธิบายพระคัมภีร์ (บางที่ใช้แค่บทเดียว) และเรียกว่าเป็นการอรรถธิบายพระคัมภีร์ ตามไคเปอร์และการเทศนาเช่นนี้มีข้อผิดพลาดอยู่มากมาย การอรรถธิบายนั้นมีความวิเศษถ้ามีข้องอ้างอิงที่ดีพอและครอบคลุมทั่ว และการเทศน์ดังกล่าวมักจะขาดความเป็นหนึ่ง ผู้ฟังไม่เข้าใจชัดเจนอย่างที่อยู่ในบทเทศนา”2 ไม่ว่าจะนำพระธรรมบทไหนมาใช้ก็ตาม วิธีการที่พระ ไคเปอร์ได้ให้นำแนะนำดังต่อไปนี้: “"ง่าย ๆ ... เป็นการแสดงความคิดเห็นที่แสดงความเคารพและตอบสนองที่ดี แรงบันดาลใจและความกระตือรือร้น ตรรกะเป็นความเชื่อที่ทำให้เกิดความสับสน ขณะที่นักเทศน์คนหนึ่งกำลังใส่บางอย่างเข้าไปในใจของผู้ฟัง ขอให้เราหยุดพวกที่ชอบครอบงำผู้คนของเรา ให้เราเทศนาพระวจนะที่แม้แต่เด็กตัวเล็กก็ยังสนใจและอยากฟังเรามากกว่าเป็นการวาดภาพ แต่เราเทศนาที่ออกมาจากใจนี่คือสิ่งที่ต้องการเป็นอันดับแรก"3 อ้างอิง 1. ผมไม่ได้ดูถูกดูหมิ่นสิ่งที่กล่าวมานี้ “การอรรถธิบาย” ก็ดีอย่างที่มีการตีพิมพ์ แต่มันอาจจะเป็นอันตรายถ้าจะรุปว่านักเทศน์ที่ดีผู้ฟังก็จะเป็นผู้ฟังที่ดีไปด้วย เพราะการอ่านและการอ่านคือสองอย่างที่แตกต่างกัน 2. Edward Heerema, R.B., A Prophet in the Land (Jordan Station, Ontario [Paideia, 1986]), pp. 138–9. 3. Ibid, p. 204. |
โครงร่างของ ทางที่สาม – วิกฤตแห่งการกลับใจใหม่ โดย ดร. อาร์ เอล์ ไฮเมอร์ส จูเนียร์ “และพระองค์ตรัสว่า “ชายคนหนึ่งมีบุตรชายสองคน บุตรคนน้อยพูดกับบิดาว่า ‘บิดาเจ้าข้า ขอทรัพย์ที่ตกเป็นส่วนของข้าพเจ้าเถิด’ บิดาจึงแบ่งสมบัติให้แก่บุตรทั้งสอง ต่อมาไม่กี่วัน บุตรคนน้อยนั้นก็รวบรวมทรัพย์ทั้งหมดแล้วไปเมืองไกล และได้ผลาญทรัพย์ของตนที่นั่นด้วยการเป็นนักเลง เมื่อใช้ทรัพย์หมดแล้วก็เกิดกันดารอาหารยิ่งนักทั่วเมืองนั้น เขาจึงเริ่มขัดสน เขาไปอาศัยอยู่กับชาวเมืองนั้นคนหนึ่ง และคนนั้นก็ใช้เขาไปเลี้ยงหมูที่ทุ่งนาเขาใคร่จะได้อิ่มท้องด้วยฝักถั่วที่หมูกินนั้น แต่ไม่มีใครให้อะไรเขากินเมื่อเขารู้สำนึกตัวแล้วจึงพูดว่า ‘ลูกจ้างของบิดาเรามีมาก ยังมีอาหารกินอิ่มและเหลืออีก ส่วนเราจะมาตายเสียเพราะอดอาหารจำเราจะลุกขึ้นไปหาบิดาเรา และพูดกับท่านว่า “บิดาเจ้าข้า ข้าพเจ้าได้ทำผิดต่อสวรรค์และทำผิดต่อหน้าท่านด้วย ข้าพเจ้าไม่สมควรจะได้ชื่อว่าเป็นลูกของท่านต่อไป” (ลูกา 15:11-19) (ยอห์น 5:39, 40; ลูกา 15:17; 2 ทิโมธี 3:15; เอเฟซัส 2:8; I. ประการแรก ที่นี่คืออธิบายคน "ชั่วร้าย" ที่ถูกเปิดเผโดนวิธีที่สาม "วิกฤตแห่งการกลับใจใหม่" ลูกา 15:13; อิสยาห์ 53:3; โรม 8:7; เอเฟซัส 2:1; โรม 3:9, 10; อิสยาห์ 1:5, 6; ลูกา 15:15, 16; เอเฟซัส 2:2, 5; ลูกา 15:24. II. ประการที่สอง ที่นี่คือคำอธิบายของการ "ตื่นขี้นมา" ของคนบาปในยามทุกข์ยาก เขาค้นหาหนทางที่สาม "วิกฤติกแห่งการกลับใจใหม่" ลูกา 15:17; เอเฟซัส 5:14; โรม 10:14; ลูกา13:24; โรม 3:20; ลูกา 15:17-18. |